ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

รวมระเบียบงานสารบรรณ (จากเว็บสำนักนายกฯ)

สำนักนายกรัฐมนตรี
รวมระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
รวมประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

(ฉบับเต็ม) พรบ.ระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ 2553

พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. ๒๕๕๓                    ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นปีที่ ๖๕ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ   ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔   ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑    พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. ๒๕๕๓ ” มาตรา ๒ [๑]    พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓    ให...

ระเบียบ กอ.การลาหยุดราชการของข้าราชการฝ่ายอัยการ 2555

ระเบียบคณะกรรมการอัยการ ว่าด้วยการลาหยุดราชการของข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. ๒๕๕๕                    โดยที่เป็นการสมควรให้มีระเบียบคณะกรรมการอัยการ ว่าด้วยการลาหยุดราชการของข้าราชการฝ่ายอัยการ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๓ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. ๒๕๕๓ คณะกรรมการอัยการจึงออกระเบียบ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑  ระเบียบนี้เรียกว่า  “ ระเบียบคณะกรรมการอัยการ ว่าด้วยการลาหยุดราชการของข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. ๒๕๕๕ ” ข้อ ๒ [ ๑]   ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓  ในระเบียบนี้ “ ข้าราชการ ”  หมายความว่า ข้าราชการฝ่ายอัยการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ “ ก.อ. ”  หมายความว่า คณะกรรมการอัยการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้อ ๔  การลาทุกประเภทตามระเบียบนี้ ถ้ามีกฎหมาย ระเบียบ ก.อ. หรือมติ ก.อ. กำหนดเกี่ยวกับการลาประเภทใดไว้เป็นพิเศ...

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ : นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการภายในสำนักงานหรือการบริหารราชการทั่วไป ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ๑.ด้านการปฏิบัติการ ศึกษา รวบรวมข้อมูล สถิติ สรุปรายงาน เพื่อสนับสนุนการบริหารสำนักงานในด้านต่าง ๆ เช่น /งานสนับสนุนการดำเนินคดีของพนักงานอัยการ /งานบริหารทรัพยากรบุคคล /งานบริหารงบประมาณ /งานบริหารแผนปฏิบัติราชการ /งานบริหารอาคารสถานที่ และ /งานสัญญาต่างๆ เป็นต้น ปฏิบัติงานเลขานุการของผู้บริหาร เช่น การกลั่นกรองเรื่อง การจัดเตรียมเอกสารสำหรับการประชุม เป็นต้น เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยสั่งการของผู้บริหาร จัดเตรียมการประชุม บันทึกและเรียบเรียงรายงานการประชุม และรายงานอื่น ๆ เพื่อให้การบริหารการประชุมมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ทำเรื่องติดต่อกับหน่วยงานและบุคคลต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด ช่วยติดตามกา...